Orion ยานอวกาศโอไรออน
Orion หรือ ยานอวกาศโอไรออน เป็นยานอวกาศอเนกประสงค์ โดยมีแผนที่จะปล่อยยานอวกาศ Orion เข้าสู่วงโคจร ยานอวกาศ Orionกำลังสร้างขึ้นโดยบริษัท Lockheed Martin สำหรับองค์กรอวกาศสหรัฐ NASA
Astrium องค์การอวกาศยุโรป โดยมีภารกิจในกาสำรวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์น้อย และดาวอังคาร โดยได้วางแผนจะเปิดระบบ ซึ่งยานอวกาศ Orion คาดการว่าจะบรรทุกนักบินอวกาศได้ 2-6คน มันยังมีแผนรอง ในการขนส่งของไปยังสถานีอวกาศนานาชาติอีกด้วย
MPCV ได้ถูกประกาศโดยนาซ่าเมื่อวันที่ 24 พ. ค 2011โดยได้รับความร่วมมือจากนักออกแบบและได้ทดสอบเตรียมความพร้อมของยานอวกาศได้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
สำหรับการถูกยกเลิกโครงการ Constellation ซึ่งนักพัฒนาได้เริ่มในปี
2005 ของ ยานthe Crew Exploration โดยแต่เดิมมันได้ถูกเปิดตัว
ผ่านการทดสอบแต่ก็ถูกยกเลิก กระสวยอวกาศ Ares I launch
โครงการ
The MPCV ได้ทำการทดสอบหลายชั่วโมงเที่ยวบิน
หรือที่เรียกว่าการทดสอบครั้งที่หนึ่ง Exploration Flight Test 1มีรหัสย่อว่าEFT-1 โดยมีกำหนดการปล่อยตัวจรวจDelta
IV ในปี2014 โดยภารกิจแรกคาดว่าจะเกิดขึ้นหลังปี2020 และในมีนาคม
2013ESA และ NASA ได้ประกาศถึงยานอวกาศ
Orion โดยโมดูลจะถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทยุโรป Astrium เพื่อองค์การอวกาศยุโรป
ภารกิจThe MPCV
ได้ถูกพัฒนามาเพื่อพาลูกเรือทำภารกิจสำรวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์น้อย และดาวอังคาร นอกจากนี้ยังมีแผนที่จะขนส่งอุปกรณ์ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ
โดยจะเปิดตัวด้วยกระสวยอวกาศ Space Launch System โดยได้ปรับปรุงยานบรรทุกนักบินให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
สำหรับแผนระหว่างการเดินทางกลับ หลังเสร็จภารกิจ
โดยยานอวกาศมีชื่อตามกลุ่มดาวนายพราน (Orion) ประวัติของยานเริ่มขึ้น
เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2004 เมื่อประธานาธิบดีสหรัฐจอร์จดับเบิลยูบุช ได้ประกาศเกี่ยวกับยานอวกาศOrionครั้งแรก เป็นที่รู้จักในยาน the Crew Exploration (CEV) เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสำรวจอวกาศในปีนั้น
ประวัติ
การออกแบบ การแก้ไขและการปรับปรุง
กรกฎาคม 2006 แก้ไขเพิ่มเติม: ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม 2006 ได้มีการทบทวนการออกแบบซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบยานอวกาศ
20 เมษายน 2007 แก้ไขสัญญา: NASAและบริษัทLockheed-Martin
ได้เซ็นสัญญา แก้ไขเกี่ยวกับยาน Orion โดยได้เพิ่มสัญญา 2 ปีสำหรับโครงการOrion การออกแบบรูปร่าง และเพิ่มการทดสอบระบบอีก2เที่ยวบิน และเริ่มต้นดารออกแบบรูปร่าง
เพื่อบรรทุกสินค้าขนส่งไปยังสถานีอวกาศนานาชาติ
พฤษภาคม 2007 ปรับปรุงการออกแบบ:ในบทควม "Aerospace Daily & Defense Report" ได้แสดงให้เห็นว่าถึงการออกแบบยานอวกาศOrion ในรุ่นล่านสุด ที่ถูกกำหนดหมายเลขไว้ "606" โดยบริษัท Lockheed Martin โมดูลจะถูกติดตั้งในส่นภายนอกเพิ่มเติมในส่วนของ jettisoned เมื่อไม่นานมานี้ โดยเป็นเครื่องยนต์ลำดับที่สองของ Ares I ignites ซึ่งจะช่วยประหยัดเงินได้ถึง1,000 ปอนด์ เมื่อเทีบกับรุ่นthe prior "605"
5 สิงหาคม 2007ปรับปรุงการออกแบบ: รายงานถึงส่วนพื้นผิวเพิ่มเติมที่เชื่อมโยงถุงลมนิรภัยสำหรับระบบการลงจอด ซึ่งได้ถูกลบออกจาก Orion ("607") ในการรักษาน้ำหนัก โดยได้เลือกรูปแบบการลงเหมือนโครงการอพอลโล ที่ลงบนผิวน้ำหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ
ในปี 2009 Human Space Flight มีแผนประชุม:วันที่ 8 กันยายน 2009 คณะกรรมการอวกาศของมนุษยชาติ ได้ประชุมถึงแผนการกำหนดปล่อยเที่ยวบิน ได้เสนอรายชื่อระยะยาวสำหรับแผนงาน สำหรับโครงการ Government's human space flight ซึ่งได้รับการตรวจสอบโดยฝ่ายบริหารของโอบามา โดยคำนึงถึงวัตถุประสงค์หลายประการ เหล่านี้เพื่อที่จะสนับสนุนสถานีอวกาศนานาชาติ ในการพัฒนาภารกิจวงโคจร ระยะใกล้รวมทั้งภารกิจสำรวจดวงจันทร์ด้วยและจะถูกใช้ในเชิงพาณิชย์อุตสาหกรรมอีกด้วย โดยต้องคำนึงถึงงบประมาณต่างๆตามที่กำหนดไว้
ในปี 2010:เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2010ได้มีการยกเลิกการโปรแกรม Constellation โดยโปรแกรม Ares ได้สิ้นสุดลง และได้ถูพัฒนา จากชื่อเดิมยาน Orion ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น MPCV โดยมีแผนปล่อยตัวกับกระสวยอวกาศขนาดใหญ่ pace Launch System แต่เนื่องด้วยค่าใช้จ่ายและความล่าช้าเนื่องจากเงินทุนไม่เพียงพอ ทาง the Obama Administration จึงได้เสนอให้ยกเลิก โปรแกรม Constellation ในกุมภาพันธ์ปี 2010 และได้รับการลงนามในกฎหมาย เมื่อ 11 ตุลาคม แต่อย่างไรก็ตาม ยานอวกาศ Orionก็ยังคงได้ถูกพัฒนาขึ้นต่อไปเพราะได้รับการสนับสนุนจากประธานาธิบดีคนใหม่
หน้าที่
|
Beyond LEO, ขนส่งสินค้าเชิงพาณิชย์และนักบินสู่สถานีอวกาศนานาชาติ
|
บรรทุกนักบิน
|
2-6คน
|
จรวจ
|
Space Launch System
Delta IV (สำหรับทดสอบระบบ)
Ares I (ได้ถูกยกเลิก)
|
เปิดตัว
|
กันยายน 2014 (เปิดตัวทดสอบโดยไร้นักบิน)
|
ขนาด
|
|
ความสูง:
|
เส้นผ่าศูนย์กลา:5 เมตร
|
ปริมาณแรงดัน
|
19.56
ลูกบาศ์กเมตร (691 ลูกบาศ์กฟุต)
|
ปริมาณที่อาศัย
|
8.95 ลูกบาศ์กเมตร
|
น้ำหนักแคปซูล
|
8,913 กิโลกรัม
|
น้ำหนักอุปกรณ์อื่นๆ
|
12,337กิโลกรัม
|
น้ำหนักรวม
|
21,250 กิโลกรัม
|
ประสิทธิภาพ
|
|
ความเร็ว
|
1,595 เมตรต่อวินาที
|
ความทนทาน
|
21.1 วัน
|
เปรียบเทียบรุ่นต่างๆ 604, 605 และ 606
การเปิดตัว Ares I-X ที่Kennedy Space Center Launch Complex 39 secured
ขอบคุณท่านผู้ชมที่ติดตามอ่าน ขอให้ทุกท่านให้โชคดี
1 ความคิดเห็น:
มีความรู้
แสดงความคิดเห็น